โรคไขมันพอกตับ หรือ Mild fatty liver คือ เกิดจากการสั่งสมไขมันในตับเป็นเวลานานจำนวนมากจนผิดปกติ และไม่มีอาการเจ็บปวด ซึ่งไขมันนั้นจะมีอยู่ประมาณ 5-10% ของตับ โดยไขมันที่เข้าไปเกาะตับนั้นมักเป็นชนิดไตรกลีเซอไรด์ ภาวะนี้พบบ่อยและทำให้ผลการตรวจการทำงานของตับผิดปกติ แต่อาจบ่งชี้ถึง โรคอื่นๆ ได้

ไขมัน เกาะ ตับ

2 สาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดโรคไขมันพอกตับ ได้แก่

  1. การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งการดื่มนั้นจะขึ้นอยู่กับประเภท และระยะเวลาที่ดื่มแอลกอฮอล์เข้าไป
  2. สำหรับผู้ป่วยบางคนอาจจะมีสาเหตุอื่นที่ไม่ได้มาจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แต่จะเป็นการรับประทานอาหารประเภท หวาน มัน คาร์โบไฮเดรต เป็นจำนวนมาก จึงเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่มำให้เกิดโรคไขมันพอกตับ

ตับวายเฉียบพลันป้องกันด้วยการตรวจ 2 วิธีนี้

Liver disease คือ ตับวายเฉียบพลันอาจจะไม่พบบ่อยแต่เป็นการการที่รุนแรงมาก มีโอกาสเสียชีวิตสูง ถ้าไปพบแพทย์ไม่ทัน ซึ่งการรักษานั้น อาจจะตจ้องทำการเปลี่ยนตับ ซึ่งทำให้โอกาสรอดมีแค่ 30% จากปกติผู้ที่มีภาวะตับวายเฉียบพลับนั้นร้อยละ 80% เสียชีวิต

การตรวจการทำงานของตับมีด้วยกัน 2 วิธี

  • ตรวจ Liver function test คือ การตรวจว่าการทำงานของตับ นั้นมีความผิดปกติหรือไม่ ซึ่งทางการแพทย์จะตรวจหาก่อต่อเมื่อ ต้องการตรวจหาสาเหตุของโรคอื่นๆ ร่วมด้วย ที่มีความเกี่ยวข้องกับการทำงานของตับ เพื่อเป็นแนวทางการรักษาต่อไป
  • การตรวจ Fibroscan แปลผล คือการตรวจวัดค่าความแข็งของตับและตรวจหาไขมันในตับ ซึ่งทางการแพทย์จะนำผลลัพธ์ที่ได้มาจากแล็บจะนำไปเป็นแนวทางในการรักษาโรคตับ 

แปล ผล Fibroscan นั้นนอกจากจะเป็นการตรวจหาค่าความแข็งของตับแล้ว ยังเป็นการตรวจหาพังผืนในเนื้อตับอีกด้วย ทั้งนั้ผู้ที่ได้รับการตรวจรักษาจะทำให้การรักษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ไขมันพอกตับ อาการที่ต้องรู้ให้ทัน

โรคไขมันพอกตับหรือ Hepatic steatosis คือ ตับแข็งสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคนโดยเฉพาะกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง เช่น ภาวะอ้วน ขาดการออกกำลังกาย ดื่มสุราเป็นประจำ โรคเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง ไขมันเกาะตับ  และความดันโลหิตสูง

แม้ว่าไขมันพอกตับจะไม่มีอาการที่เฉพาะเจาะจง แต่เราสามารถสังเกตอาการเบื้องต้นที่จะทำให้เรารู้ว่าตับเริ่มมีปัญหา ซึ่งจะเป็นอาการอันเนื่องมาจากตับทำงานได้ไม่ดีเท่าเดิม เช่น

  • อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
  • นอนไม่หลับ
  • มีอาการปวดจุกแน่นชายโครงขวา
  • ท้องอืด อาหารไม่ย่อย

กลุ่มโรคไขมันพอกตับ

  • กลุ่มโรคที่เกี่ยวข้องกับการใช้พลังงานสูงของร่างกาย (metabolic syndrome) เช่น โรคอ้วน (ค่าดัชนีมวลกายมากกว่า 25) โรคเบาหวาน โรคไขมันในเลือดสูง โรคความดันโลหิตสูง
  • เกิดจากการรับประทานอาหารประเภทที่ให้พลังงานสูงเป็นประจำ เช่น อาหารจำพวกแป้ง น้ำตาล ไขมันจากเนื้อสัตว์
  • ผลข้างเคียงจากยาบางชนิด ที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นยาเคมีรักษาโรคมะเร็ง ยาปฏิชีวนะ ยาต้านไวรัสบางชนิด ยากลุ่มสเตียรอยด์ และยากลุ่มต้านฮอร์โมน
Liver disease คือ ภาวะไขมันสะสมในตับ

ใครบ้างเป็นกลุ่มเสี่ยงของโรคไขมันพอกตับ

  1. กลุ่มคนที่มีน้ำหนักตัวมากเกินไป
  2. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน หรือมีน้ำตาลในเลือดจำนวนมาก
  3. ผู้ที่มีไขมันดี หรือ HDL ต่ำ
  4. ผู้ที่มีความดันโลหิตสูง 

โรคไขมันพอกตับนั้น มักจะไม่แสดงอาการ แต่เราควรไปตรวจ ไขมัน พอก ตับเพราะการแสดงออกมาโดยอาการเหล่านี้ เช่น อาการอ่อนเพลีย คลื่นไส้ รู้สึกตึงบริเวณใต้ชายโครงขวา โดยส่วนใหญ่แล้วมักพบเมื่อผู้ป่วยเข้ารับการเจาะเลือดตรวจสุขภาพประจำปี

ไขมันพอกตับ เป็นภาวะที่เกิดได้จากหลายปัจจัย ได้แก่

แนวทางในการป้องกันและลดความเสี่ยงจากโรคไขมันพอกตับ

  • ผู้ที่มีน้ำหนักตัวที่มากเกินมาตรฐาน ควรออกกำลังกาย อย่างน้อย 0.5 – 2  กิโลกรัม/เดือน จนกระทั่งมีน้ำหนักตัวตามหลักมาตรฐาน
  • รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย และควรหลีกเลี่ยงอาหารอาหารที่มีไขมันสูง 
  • ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคไขมันในเลือดสูง ควรรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ 
  • แนะนำปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ยาหรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
  • งดดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  • ตรวจสุขภาพเป็นประจำ

อันตรายจากไขมันพอกตับมี 4 ระยะ อะไรบ้าง

  • ระยะที่ 1 ไขมันจะเริ่มก่อตัวขึ้นบริเวณเนื้อตับ แต่จะไม่มีเกิดการอักเสบหรือพังผืด
  • ระยะที่ 2 บริเวณตับจะเกิดการอักเสบ หาก ปล่อยไว้ไม่รีบรักษาหรือไปพบแพทย์ อาจทำให้เกินภาวะตับอักเสบเรื้อรัง
  • ระยะที่ 3 เกิดการอักเสบอย่างรุนแรงและมีพังผืน
  • ระยะที่ 4 เชลล์ตับจะถูกทำลาย ตับทำงานผิดปกติ ทำให้เกิดตับแข็งเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งตับ

คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับโรคไขมันพอกตับ

สามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มหลักๆ คือ สาเหตุจากแอลกอฮอล์ Alcoholic Fatty Liver Disease ความรุนแรงของโรคเกิดจากปริมาณแอลกอฮอล์ ประเภท และระยะเวลาที่ดื่มแอลกอฮอล์ 2) สาเหตุที่ไม่ได้มาจากแอลกอฮอล์(Nonalcoholic Fatty Liver Disease – NAFLD) ซึ่งมีสาเหตุสำคัญมาจากพฤติกรรมการกิน จำพวกอาหารมัน อาหารหวาน หรือพวกคาร์โบไฮเดรตมากเกินไป

ไม่เป็นอันตรายต่อผู้ป่วย หากรับประทานในปริมาณที่เหมาะสม ที่ปลอดภัย ปริมาณบริโภคไม่เกิน 2 ขวดต่อวัน

อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย นอนไม่หลับ มีอาการปวดจุกแน่นชายโครงขวา ท้องอืด อาหารไม่ย่อย

ผลิตภัณฑ์ Coffogenic มีสารออกฤทธิ์ที่สำคัญคือ กรดคลอโรจีนิค ซึ่งสารนี้จะช่วยลดการดูดซึมไขมันเข้าสู่ร่างกาย และทำงานในระบบเมตาบอลิกซึม ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลทั้งหมด (total cholesterol) และลดคอเลสเตอรอลไม่ดี (LDL Cholesterol) ในเลือด

Coffogenic ไม่ได้เป็นยาที่รักษาทางการแพทย์โดยตรง แต่เป็นผลิตภัณฑ์ที่ช่วยส่งเสริมสุขภาพ ให้ลดการเกิดภาวะไขมันพอกตับ โดยใช้สารสำคัญชื่อว่าคลอโรจีนิก ที่มีคุณสมบัติลดการดูดซึมไขมันเข้าสู่ตับ

ผลิตภัณฑ์ Coffogenic มีสารออกฤทธิ์ที่สำคัญคือ กรดคลอโรจีนิค ซึ่งสารนี้จะช่วยลดการดูดซึมไขมันเข้าสู่ร่างกาย และทำงานในระบบเมตาบอลิกซึม ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลทั้งหมด (total cholesterol) และลดคอเลสเตอรอลไม่ดี (LDL Cholesterol) ในเลือด

1.น้ำหนักตัวมากเกิน (ดัชนีมวลกายหรือ BMI 23-25) ค่าดัชนีมวลกายมากกว่า 25

2.ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์มาก

3.รับประทานอาหารที่มีรสหวานมากเกินไป เช่น ดื่มชาเขียวที่มีรสหวานแทนน้ำ

ผลิตภัณฑ์ Coffogenic มีสารออกฤทธิ์ที่สำคัญคือ กรดคลอโรจีนิค ซึ่งสารนี้จะช่วยลดการดูดซึมไขมันเข้าสู่ร่างกาย และทำงานในระบบเมตาบอลิกซึม ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลทั้งหมด (total cholesterol) และลดคอเลสเตอรอลไม่ดี (LDL Cholesterol) ในเลือด

แนะนำทานเป็นเวลา 6 เดือน เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของผลเลือด

ช่วยลดการเกาะของไขมันพอกตับได้ มีงานวิจัยรับรองของผู้ป่วย ในงานวิจัย clinic

สามารถช่วยป้องกัน และลดภาวะการเกิดไขมันพอกตับได้ เนื่องจากมีสารสำคัญกรดคลอโรจีนิก ที่เป็นสารช่วยออกฤทธิ์ให้เกิดผล