ไขมันพอกตับ
โรคไขมันพอกตับ (Fatty Liver Disease) หรือไขมันเกาะตับ เป็นกลุ่มของโรคที่เกิดจากการสะสมไขมันในตับมากเกินปกติ คือประมาณ 5-10% ของตับ โดยน้ำหนักไขมันที่เข้าไปแทรกตับนั้นมักเป็นชนิดไตรกลีเซอไรด์ ภาวะนี้เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่ทำให้ผลการตรวจการทำงานของตับผิดปกติ และไม่ทำให้เกิดอาการเจ็บปวด แต่อาจเป็นภัยเงียบที่คุณอาจไม่รู้ตัวและบ่งชี้ถึงโรคอื่นๆ ได้
ไขมันพอกตับ เกิดขึ้น จากหลายสาเหตุ ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มหลักๆ คือ สาเหตุจากแอลกอฮอล์ (Alcoholic Fatty Liver Disease) ความรุนแรงของโรคเกิดจากปริมาณแอลกอฮอล์ ประเภท และระยะเวลาที่ดื่มแอลกอฮอล์ 2) สาเหตุที่ไม่ได้มาจากแอลกอฮอล์(Nonalcoholic Fatty Liver Disease – NAFLD) ซึ่งมีสาเหตุสำคัญมาจากพฤติกรรมการกิน จำพวกอาหารมัน อาหารหวาน หรือพวกคาร์โบไฮเดรตมากเกินไป และเมื่อนำไปใช้ไม่หมดก็ทำให้เปลี่ยนไปเป็นไตรกลีเซอไรด์สะสมในตับในที่สุด
ไขมันพอกตับ อาการ
โรคไขมันพอกตับสามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคนโดยเฉพาะกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง เช่น ภาวะอ้วน ขาดการออกกำลังกาย ดื่มสุราเป็นประจำ โรคเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง และความดันโลหิตสูงแม้ว่าไขมันพอกตับจะไม่มีอาการที่เฉพาะเจาะจง แต่เราสามารถสังเกตอาการเบื้องต้นที่จะทำให้เรารู้ว่าตับเริ่มมีปัญหา ซึ่งจะเป็นอาการอันเนื่องมาจากตับทำงานได้ไม่ดีเท่าเดิม เช่น
– อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
– นอนไม่หลับ
– มีอาการปวดจุกแน่นชายโครงขวา
– ท้องอืด อาหารไม่ย่อย
สาเหตุการเกิดโรคไขมันพอกตับ แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
1. จากการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ซึ่งความรุนแรงของโรคขึ้นอยู่กับเพศ ประเภท ปริมาณ และระยะเวลาที่ดื่มแอลกอฮอล์ เรียกว่า alcoholic fatty liver disease
2. จากปัจจัยเสี่ยงอื่น เช่น
ㆍกลุ่มโรคที่เกี่ยวข้องกับการใช้พลังงานสูงของร่างกาย (metabolic syndrome) เช่น โรคอ้วน (ค่ดัชนีมวลกายมากกว่า 25) โรคเบาหวาน โรคไขมันในเลือดสูง โรคความดันโลหิตสูง
ㆍการรับประทานอาหารที่ให้พลังงานสูงเป็นประจำ เช่น แป้ง น้ำตาล ไขมัน
ㆍ ผลข้างเคียงจากยาบางชนิด เช่น ยาเคมีบำบัดรักษาโรคมะเร็ง ยาปฏิชีวนะบางชนิด ยาต้านไวรัสบางชนิด ยากลุ่มสเตียรอยด์ ยากลุ่มต้านฮอร์โมน
กลุ่มเสี่ยงที่อาจมีภาวะไขมันพอกตับ
ได้แก่
1. คนอ้วน ผู้ชายรอบเอวเกิน 40 นิ้ว ผู้หญิง รอบเอวเกิน 35 นิ้ว
2. ผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน หรือมีน้ำตาลในเลือดมากกว่า 100 มิลลิกรัม/เดชิลิตร
3. ผู้ที่มีไขมันไตรกลีเชอไรด์ในเลือดสูงกกว่า 150 มิลลิกรัม/เดชิลิตร
4. ผู้ที่มีไขมันดี หรือ HDL ต่ำ (ผู้ชาย น้อยกว่า 40 มิลลิกรัม/เดชิลิตร ผู้หญิง น้อยกว่า 50 มิลลิกรัม/เดชิลิตร)
5. ผู้ที่มีความดันโลหิตสูง 140/90 มิลลิเมตรปรอทขึ้นไป
FAQ คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับ “โรคไขมันพอกตับ”
A: สามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มหลักๆ คือ สาเหตุจากแอลกอฮอล์ (Alcoholic Fatty Liver Disease) ความรุนแรงของโรคเกิดจากปริมาณแอลกอฮอล์ ประเภท และระยะเวลาที่ดื่มแอลกอฮอล์ 2) สาเหตุที่ไม่ได้มาจากแอลกอฮอล์(Nonalcoholic Fatty Liver Disease – NAFLD) ซึ่งมีสาเหตุสำคัญมาจากพฤติกรรมการกิน จำพวกอาหารมัน อาหารหวาน หรือพวกคาร์โบไฮเดรตมากเกินไป
A : ไม่เป็นอันตรายต่อผู้ป่วย หากรับประทานในปริมาณที่เหมาะสม ที่ปลอดภัย ปริมาณบริโภคไม่เกิน 2 ขวดต่อวัน
A : อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย นอนไม่หลับ มีอาการปวดจุกแน่นชายโครงขวา ท้องอืด อาหารไม่ย่อย
A : ผลิตภัณฑ์ Coffogenic มีสารออกฤทธิ์ที่สำคัญคือ กรดคลอโรจีนิค ซึ่งสารนี้จะช่วยลดการดูดซึมไขมันเข้าสู่ร่างกาย และทำงานในระบบเมตาบอลิกซึม ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลทั้งหมด (total cholesterol) และลดคอเลสเตอรอลไม่ดี (LDL Cholesterol) ในเลือด
A : Coffogenic ไม่ได้เป็นยาที่รักษาทางการแพทย์โดยตรง แต่เป็นผลิตภัณฑ์ที่ช่วยส่งเสริมสุขภาพ ให้ลดการเกิดภาวะไขมันพอกตับ โดยใช้สารสำคัญชื่อว่าคลอโรจีนิก ที่มีคุณสมบัติลดการดูดซึมไขมันเข้าสู่ตับ
A : ผลิตภัณฑ์ Coffogenic มีสารออกฤทธิ์ที่สำคัญคือ กรดคลอโรจีนิค ซึ่งสารนี้จะช่วยลดการดูดซึมไขมันเข้าสู่ร่างกาย และทำงานในระบบเมตาบอลิกซึม ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลทั้งหมด (total cholesterol) และลดคอเลสเตอรอลไม่ดี (LDL Cholesterol) ในเลือด
A : 1.น้ำหนักตัวมากเกิน (ดัชนีมวลกายหรือ BMI 23-25) ค่าดัชนีมวลกายมากกว่า 25
2.ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์มาก
3.รับประทานอาหารที่มีรสหวานมากเกินไป เช่น ดื่มชาเขียวที่มีรสหวานแทนน้ำ
A : ผลิตภัณฑ์ Coffogenic มีสารออกฤทธิ์ที่สำคัญคือ กรดคลอโรจีนิค ซึ่งสารนี้จะช่วยลดการดูดซึมไขมันเข้าสู่ร่างกาย และทำงานในระบบเมตาบอลิกซึม ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลทั้งหมด (total cholesterol) และลดคอเลสเตอรอลไม่ดี (LDL Cholesterol) ในเลือด
A : แนะนำทานเป็นเวลา 6 เดือน เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของผลเลือด
A : ช่วยลดการเกาะของไขมันพอกตับได้ มีงานวิจัยรับรองของผู้ป่วย ในงานวิจัย clinic
A : สามารถช่วยป้องกัน และลดภาวะการเกิดไขมันพอกตับได้ เนื่องจากมีสารสำคัญกรดคลอโรจีนิก ที่เป็นสารช่วยออกฤทธิ์ให้เกิดผล